Connect to DB
  หัวข้อ ความคิดเห็นต่อปัญหาการแต่งกายของนิสิต นักศึกษาในระดับอุดมศึกษา
  ระเบียบวิธีการสำรวจ:
   

         การสำรวจเรื่อง “ความคิดเห็นต่อปัญหาการแต่งกายของนิสิต นักศึกษาในระดับอุดมศึกษา
ใช้วิธีเลือกกลุ่มตัวอย่าง 2 วิธีคือ วิธีเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบยึดหลักความน่าจะเป็น (Probability
Sampling) และวิธีเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบไม่ยึดหลักความน่าจะเป็น (Non-Probability
Sampling) จากนั้นใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) โดยการสุ่ม
สถาบันการศึกษาทั้งของรัฐและเอกชนจำนวน 19 แห่ง ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 3
จังหวัด ได้แก่นนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ ทำการสุ่มคณะ ชั้นปีและประชากรเป้าหมาย
สำหรับประชากรเป้าหมายในต่างจังหวัดใช้การสุ่มตัวอย่างแบบตามความสะดวก (Convenience
Sampling) ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 1,743 คน เป็นเพศชายร้อยละ 36.9 และเพศหญิงร้อยละ 63.1

   
  ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล: 28 มิถุนายน - 16 กรกฏาคม 2550
  วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ: 27 กรกฏาคม 2550
  สรุปผลการสำรวจ:
   
กราฟแสดงการประมวลผลข้อมูล
   
                          กราฟที่ 1: ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อประเด็นปัญหาการแต่งกายของนิสิต นักศึกษา
ในปัจจุบันว่าเป็นปัญหาที่ควรได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน
   

   
                          กราฟที่ 2: ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อปัญหาการแต่งกายของนิสิต นักศึกษาไทย
ในปัจจุบัน พบว่า
   

   
                          กราฟที่ 3: ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อการแต่งกายไม่เหมาะสมของนิสิต นักศึกษา
จะก่อให้เกิดผลเสียหรือปัญหาใดมากที่สุด (เป็นคำถามปลายเปิดให้ระบุคำตอบเอง)
   

   
                          กราฟที่ 4: ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อกรณีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ กระทรวง
ศึกษาธิการ และกระทรวงวัฒนธรรม จะผลักดันเรื่องการแก้ปัญหาการแต่งกายของนิสิต นักศึกษา
ให้เป็นวาระแห่งชาติ  พบว่า
   

   
                          กราฟที่ 5: จำนวนผู้ที่ระบุว่าไม่เห็นด้วยกับการผลักดันให้เป็นวาระแห่งชาติ เห็นว่า
   

   
                          กราฟที่ 6: ความคิดเห็นกลุ่มตัวอย่างถึงมาตรการที่จะนำมาใช้แก้ปัญหาการแต่งกายของ
นิสิต นักศึกษาแล้วคิดว่าจะทำให้เห็นผลเป็นรูปธรรมมากที่สุด
   

   
                          กราฟที่ 7: ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อการที่สถาบันการศึกษาจะอนุญาตให้นักศึกษา
แต่งชุดธรรมดาที่สุภาพ (Private) แทนการใส่ชุดนักศึกษา
   

   
                          กราฟที่ 8: ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างกรณีที่ หากสถาบันการศึกษาอนุญาตให้
นักศึกษาแต่งชุดธรรมดาที่สุภาพ (Private) แทนการใส่ชุดนักศึกษามาเรียนแล้ว   ปัญหาเรื่อง
การแต่งกายไม่เหมาะสมของนิสิตนักศึกษาจะหมดไปหรือไม่ พบว่า
   

   
     
    สามารถทำการ Vote ได้วันละ 1 ครั้ง
    Vote:  ดีมาก(5) ดี (4) ปานกลาง(3) พอใช้ (2) แย่ (1)  
    Download document file:   ( ความคิดเห็นต่อปัญหาการแต่งกายของนิสิต นักศึกษาในระดับอุดมศึกษา )
   
   

ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ ( Email: research@bu.ac.th )

   

โทร. 0-2350-3500 ต่อ 1776